บริการช่างไฟฟ้า ช่างประปา รับเหมาทำฝ้าเพดาน ทาสีบ้าน ติดตั้งปั้มน้ำ อุปกรณ์ไฟฟ้า

อัพเดตเมื่อ : 28 Apr 2024 14:57
หน่วยงาน : ศูนย์รวมธุรกิจ

 **ช่างไฟฟ้า งานระบบไฟฟ้า แก้ไขงานไฟฟ้าขัดข้องประจำบ้าน เดินสายไฟ ติดตั้งปลั๊ก หลอดไฟ เดินไฟรั้ว ไฟสนาม ไฟรอบนอกตัวบ้าน 

**ช่าง ซ่อมแซม/แก้ไข เบกเกอร์ทริป เซฟทีคัททริปบ่อย สายไฟชำรุด ไฟช็อต ไฟรั่ว ปลั๊กชำรุด โคมไฟชำรุด

**ช่างประปา ติดตั้งท่อน้ำดี ท่อน้ำทิ้ง แก้ไขท่อชำรุด ท่อแตกใต้พื้น/ในผนัง ติดตั้งปั้มน้ำ ถังเก็บน้ำ แท็งน้ำ ติดตั้งลูกลอยไฟฟ้า ติดตั้งเครื่องทำน้ำอุ่น

**ช่างเดินสาย เพิ่มจุด ย้ายจุด รับเดินสายทีวี ระบบอินเตอร์เน็ต เดินสายLAN กล้องวงจรปิด

** ช่างฝ้าเพดาน รับเหมาทำฝ้าเพดาน ช่างทำฝ้า รับติดตั้งผ้า รับซ่อมฝ้า ช่างนิพล รับทำฝ้าทุกชนิด

** ช่างทาสี ช่างรับเหมาทาสีบ้าน ทาสีตึก อาคาร รับเหมาทางสีสร้างลายผนังบ้าน คอนโด ร้านค้า
 
  ติดต่อช่างไฟฟ้าประปา

ความสำคัญและประโยชน์ของงานช่างพื้นฐาน !!!!
-งานไฟฟ้า ชีวิตประจำวันของมนุษย์ จะเกี่ยวข้องกับของใช้ที่เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า เพราะ เครื่องใช้ไฟฟ้าให้ความสะดวก ความสุขสบาย อย่างไรก็ตาม หากใช้ไม่เป็น ใช้ไม่ถูกต้อง ก็ย่อมมีโทษเช่นกัน การใช้จึงต้องคำนึงถึงเรื่องความปลอดภัย ความประหยัดและอายุการใช้งาน งานไฟฟ้าเป็นงานที่ต้องใช้ความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ของการนำเอาพลังงานไฟฟ้ามาใช้ ในลักษณะของการเปลี่ยนเป็นรูปอื่นๆ เช่น แสงสว่าง ความร้อน พลังงานกล งานไฟฟ้าในงานช่างพื้นฐาน สามารถปฏิบัติได้ทั้งชายและหญิง เพราะเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ซึ่งจะต้องรู้จักเครื่องมือเครื่องใช้ วิธีใช้ การเก็บบำรุงรักษา ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ สามารถจัดหาและนำมาใช้ได้อย่างประหยัดและปลอดภัย
- งานประปา ระบบประปาและระบบการระบายน้ำโสโครกในอาการบ้านเรือน เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับชีวิตประจำวัน ระบบประปาและระบบการระบายน้ำโสโครกที่มีประสิทธิภาพมีผลต่อสุขภาพและอนามัยของผู้อาศัยงานประปาจึงมีความสำคัญและเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการวัด การตัดต่อท่อ ข้อท่อ มีความสามารถในการซ่อมแซม แก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในระบบประปาและระบบการระบายน้ำต่างๆ

ระบบประปา !!!!
น้ำคือปัจจัยที่สำคัญใน การดำรงชีวิตของมนุษย์ เราสามารถใช้น้ำในการใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ทั้งการอุปโภคและบริโภค อาคารบ้าน พักอาศัยก็เช่นเดียวกัน จำเป็นจะต้องมีการวาง ระบบน้ำประปา มาใช้ในอาคารด้วย ในการนำน้ำมาใช้กับ อาคารบ้านเรือน ทั้งหลาย จะต้องมีการวางระบบที่ดี เพื่อให้เกิดความสะดวกใน การใช้งานอีกทั้งสะดวกในการบำรุงรักษาอีกด้วย ต้องคำนึงถึง การจัดวางตำแหน่ง ท่อต่างๆได่แก่ ระบบท่อน้ำดี ระบบท่อน้ำทิ้ง ระบบท่อน้ำเสีย และ ระบบท่อระบายอากาศ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน เพื่อประสิทธิภาพ ในการใช้ ตลอดจนอายุการใช้งานที่ยาวนานและเนื่องจากระบบท่อต่าง ๆ จะถูกซ่อนไว้ตามที่ต่างๆเช่นในผนัง พื้น ฝ้าเพดาน ฉะนั้น ก่อนการ ดำเนินการก่อสร้างต้องมีการวางแผนให้ดี เพื่อประโยชน์ในการซ่อมบำรุงในภายหลัง และนอกจากนี้ ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ต้อง คำนึงถึงอีกมากมาย ดังเช่น
1) จัดเตรียมพื้นที่การเดินท่อทั้งแนวนอน แนวดิ่ง รวมถึงระยะลาดเอียงต่าง ๆ
2) ติดตั้งฉนวนในระบบท่อที่จำเป็นเช่น ท่อน้ำเย็น เพื่อลดความเสียหายจากการรั่วซึม
3) ออกแบบระบบแขวน และรายละเอียดอื่น ๆ ตามมาตรฐานของอุปกรณ์ต่าง ๆ
4) จัดเตรียมพื้นที่สำหรับการบำรุงรักษา
ระบบน้ำประปา มีส่วนสำคัญคือ การจ่ายน้ำที่สะอาดไปยังจุดที่ใช้งานต่าง ๆ ในปริมาณ และแรงดันที่เหมาะสม กับการใช้งาน นอกเหนือ จากนั้น ยังจะต้องมีระบบ การสำรองน้ำในกรณีฉุกเฉิน หรือมีการปิดซ่อม ระบบภายนอก หรือช่วงขาดแคลนน้ำ และในอาคาร บาง ประเภท ยังต้องสำรองน้ำสำหรับ ระบบดับเพลิงแยก ต่างหากอีกด้วย

 

 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ++++
1.มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้า
มารตรฐานการออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้า มีความสำคัญยิ่ง ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัย คงทนถาวร และเพื่อยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ที่ใช้อยู่ในระบบให้ยาวนานยิ่งขึ้น การติดตั้งระบบไฟฟ้า มีมาตรฐานกำหนดที่แน่นอน และมีหลายหน่วยงาน เช่น กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และหน่วยงานจากต่างประเทศที่ประเทศไทยนำมายึดถือ เช่น National Electric Code (NEC) Amarican National Standard Institute (ANSI) International Electrotechical Commission (IEC) เป็นต้น และหน่วยงานที่รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ คือ สำนักผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ที่รู้จักกันในชื่อ มอก.
2. ศัพท์เฉพาะ หรือคำจำกัดความ ด้านระบบไฟฟ้า ที่ควรรู้
2.1 ระบบไฟฟ้าแรงสูง คือ ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้า เกิน 1,000 โวลท์
2.2 ระบบไฟฟ้าแรงต่ำ คือ ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 1,000 โวลท์
2.3 โวลท์ (Volt.) คือ หน่วยวัดแรงดันไฟฟ้า
2.4 แอมแปร์ ( Amp.) คือ หน่วยวัดกระแสไฟฟ้า
2.5 วัตต์ (Watt.) คือ หน่วยของกำลังไฟฟ้าที่ใช้จริง
2.6 หน่วย (Unit) คือ หน่วยของกำลังไฟฟ้าที่ใช้ ต่อชั่วโมง มีอุปกรณ์ที่ใช้วัด คือ กิโลวัตต์ฮอร์มิเตอร์ (Kwh. )
3.ระบบ 1 เฟส หรือ 3 เฟส คือ ระบบไฟฟ้าที่นำมาใช้ โดยแยกออกดังนี้
3.1 ระบบ 1 เฟส จะมี 2 สายในระบบ ประกอบด้วย สาย LINE (มีไฟ) 1 เส้น และสาย Neutral (ไม่มีไฟ) 1 เส้น มีแรงดันไฟฟ้า 220 – 230 โวลท์
มีความถี่ 50 เฮิร์ซ (Hz)
3.2 ระบบ 3 เฟส จะมี 4 สายในระบบ ประกอบด้วย สาย LINE (มีไฟ) 3 เส้น และสายนิวตรอน (ไม่มีไฟ) 1 เส้น มีแรงดันไฟฟ้าระหว่าง สาย
LINE กับ LINE 380 – 400 โวลท์ และแรงดันไฟฟ้าระหว่างสาย LINE กับ Neutral 220 – 230 โวลท์ และมีความถี่ 50 เฮิร์ซ (Hz)
เช่นเดียวกัน
3.3 สายดิน หรือ GROUND มีทั้ง 2 ระบบ ติดตั้งเข้าไปในระบบเพื่อความปลอดภัยของระบบ สายดินจะต้องต่อเข้าไปกับพื้นโลก
ตามมาตรฐานกำหนด
4. Power Factor
คือ อัตราส่วน ระหว่างกำลังไฟฟ้าที่ใช้จริง (วัตต์) กับ กำลังไฟฟ้าปรากฏ หรือกำลังไฟฟ้าเสมือน (VA) ซึ่ง ค่าที่ดีที่สุด คือ มีอัตราส่วนที่เท่ากัน จะมีค่าเป็นหนึ่ง แต่ในทางเป็นจริงไม่สามารถทำได้ ซึ่งค่า Power Factor เปลี่ยนแปลงไปตามการใช้ LOAD ซึ่ง Load ทางไฟฟ้ามีอยู่ 3 ลักษณะ คือ
1. Load ประเภท Resistive หรือ ความต้าน จะมีค่า Power Factor เป็นหนึ่ง อันได้แก่ หลอดไฟฟ้าแบบใส้ เตารีดไฟฟ้า หม้อหุงข้าว
เครื่องทำน้ำอุ่น เป็นต้น ถ้าหน่วยงานหรือองค์กร มี Load ประเภทนี้เป็นจำนวนมาก ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องปรับปรุงค่า Power Factor
2. Load ประเภท Inductive หรือ ความเหนี่ยวนำ จะมีค่า Power Factor ไม่เป็นหนึ่ง อันได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ขดลวด เช่น มอเตอร์
บาลาสก์ของหลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดแกสดิสชาร์จ เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าหน่วยงานหรือองค์กรส่วนใหญ่ จะหลีกเลี่ยง
Load ประเภทนี้ไม่ได้ และมีเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะทำให้ ค่า Power Factor ไม่เป็นหนึ่ง และ Load ประเภทนี้จะทำให้ค่า Power Factor
ล้าหลัง ( Lagging ) จำเป็นที่จะต้องปรับปรุงค่า Power Factor โดยการนำ Load ประเภทให้ค่า Power Factor นำหน้า ( Leading )
มาต่อเข้าในวงจรไฟฟ้าของระบบ เช่น การต่อชุด Capacitor Bank เข้าไปในชุดควบคุมไฟฟ้า
3. Load ประเภท Capacitive หรือ Load ที่มีตัวเก็บประจุ (Capacitor) เป็นองค์ประกอบ Load ประเภทนี้จะมีใช้น้อยมาก จะมีค่า Power Factor
ไม่เป็นหนึ่ง Load ประเภทนี้จะทำให้ค่า Power Factor นำหน้า ( Leading ) คือกระแสจะนำหน้าแรงดัน จึงนิยมนำ Load ประเภทนี้
มาปรับปรุงค่า Power Factor ของระบบที่มีค่า Power Factor ล้าหลัง เพื่อให้ค่า Power Factor มีค่าใกล้เคียงหนึ่ง

ข้อดี ของการปรับปรุง ค่า Power Factor ++++
- กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรไฟฟ้าลดลง
- หม้อแปลง และสายเมนไฟฟ้า สามารถรับ Load เพิ่มได้มากขึ้น
- ลดกำลังงานสูญเสียในสายไฟฟ้าลง
- ลดแรงดันไฟฟ้าตก
- เพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าทั้งระบบ
5. ระบบการส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า
หน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการผลิตและจำหน่ายไฟฟ้าในปัจจุบัน คือ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิต เป็นผู้ผลิตไฟฟ้าให้การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคไปจำหน่าย การไฟฟ้านครหลวง จะจำหน่ายไฟฟ้าให้ กทม.และปริมณฑล ส่วนการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จะจำหน่ายไฟฟ้าให้กับต่างจังหวัดของทุกภาคในประเทศ
ระบบไฟฟ้าในภาคใต้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตจะผลิตไฟฟ้าที่โรงไฟฟ้า แล้วแปลงแรงดันไฟฟ้าให้สูงถึง 230 กิโลโวลท์ (KV.) แล้วส่งไปตามเมืองต่างๆ เข้าที่สถานีไฟฟ้าย่อย ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สถานีไฟฟ้าย่อยจะปรับลดแรงดันไฟฟ้าเหลือ 33 กิโลโวลท์ แล้วจ่ายเข้าในตัวเมือง และผู้ใช้ไฟฟ้าต้องติดตั้งหม้อแปลง เพื่อลดแรงดันไฟฟ้าให้เป็นแรงต่ำ เพื่อนำมาใช้งานต่อไป

กำลังไฟฟ้า ++++
กำลังไฟฟ้ามีด้วยกัน 3 อย่างคือ
- กำลังไฟฟ้าจริง มีหน่วยเป็น วัตต์ (Watt)
- กำลังไฟฟ้าแฝง มีหน่วยเป็น วาร์ (VAR)
- กำลังไฟฟ้าปรากฏ มีหน่วยเป็น โวลท์แอมป์ (VA)
6. หม้อแปลงไฟฟ้า
หม้อแปลงไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า สำหรับแปลงแรงดันไฟฟ้าให้สูงขึ้น หรือต่ำลง เพื่อให้เหมาะสมกับงานที่จะใช้ งานบางอย่างต้องการใช้แรงดันสูง เช่น การส่งพลังงานไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้ามายังสถานีย่อย ต้องใช้หม้อแปลงแรงไฟฟ้าแรงสูง แต่ การใช้ในบ้านเรือน หรือ โรงงานต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้าแรงต่ำ ซึ่งหม้อแปลงมีหลายชนิด หลายขนาด เลือกใช้ตามความเหมาะสมของงาน
7. ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า
- MDB. (Main distribution board ) เป็นตู้ควบคุมระบบไฟฟ้าหลัก มี Main Circuit Breaker เพื่อตัดต่อวงจรไฟฟ้าทั้งหมดของอาคาร
- SDB. (Sub distribution board ) เป็นตู้ควบคุมย่อย จ่ายกระแสไฟฟ้าไปตามตู้ PB. หรือ Load Center หลายๆ ตู้ ขึ้นอยู่กับขนาดของอาคาร
- PB ( Panel board ) หรือ Load Center เป็นแผง Circuit breaker ที่ควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ มีหลายขนาด
ขึ้นอยู่กับจำนวนของ Load
8. การต่อลงดิน
การต่อลงดิน คือการใช้ตัวนำทางไฟฟ้า ต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้า หรือ บริภัณฑ์ไฟฟ้า ต่อเข้ากับพื้นโลกอย่างมั่นคง ถาวร การต่อลงดินมี
วัตถุประสงค์ เพื่อลดอันตรายที่อาจจะเกิดกับบุคคล และลดความเสียหายที่อาจจะเกิดกับเครื่องใช้ไฟฟ้าและระบบไฟฟ้า
หน้าที่หลักของสายดิน มีอยู่ 2 ประการ คือ
1. เมื่อเกิดแรงดันเกิน จะจำกัดแรงดันไฟฟ้าของวงจร ไม่ให้สูงจนอาจทำให้เครื่องใช้ ไฟฟ้า เสียหาย และลดแรงดันไฟฟ้าที่อาจเกิดขึ้นที่เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือ ส่วนประกอบ เนื่องจากการรั่ว หรือการเหนี่ยวนำ เพื่อลดอันตรายจากบุคคลที่ไปสัมผัส
2. เมื่อเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วลงดิน จะช่วยลดความเสียหายของเครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือระบบไฟฟ้า การต่อลงดินที่ถูกต้องจะช่วยให้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ป้องกันทำงานได้ตามที่ออกแบบไว้

ชนิดของการต่อลงดิน มีอยู่ด้วยกัน 3 แบบ คือ
1. การต่อลงดินของระบบไฟฟ้า ( System Grounding)
2. การต่อลงดินของเครื่องอุปกรณไฟฟ้า ( Equipment Grounding )
3. การต่อลงดินของระบบป้องกันฟ้าผ่า ( Lightning Grounding )
9. ระบบป้องกันฟ้าผ่า
เป็นระบบที่ต้องมีในระบบไฟฟ้า โดยมาตรฐานการติดตั้งเป็นตัวบังคับ ประเทศไทยใช้มาตรฐานของ IEC เป็นหลัก ระบบป้องกันฟ้าผ่าจะประกอบด้วย ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกอาคาร และระบบป้องกันฟ้าผ่าภายในอาคาร ระบบป้องกันฟ้าผ่า มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ป้องกันความเสียหายต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นกับระบบไฟฟ้า และบริภัณฑ์ต่างๆ อันเนื่องมาจากฟ้าผ่า
10. อุปกรณ์ตัดตอน หรืออุปกรณ์ปลดวงจร
อุปกรณ์ตัดตอน หรือ อุปกรณ์ปลดวงจร มีหน้าที่ ตัดตอนวงจรไฟฟ้าออกยามไม่ต้องการให้มีกระไฟฟ้าไหลในระบบ เช่น การซ่อมแซม และเพื่อ ป้องกันอันตรายต่อ ระบบ อันเนื่องมาจาก การใช้กระแสไฟฟ้าเกินพิกัด หรือ เกิดการลัดวงจร อุปกรณ์ตัดตอน ที่ใช้กันส่วนใหญ่ในปัจจุบัน คือ ฟิวส์ และ เซอร์กิต เบรกเกอร์ (CB.) แต่การใช้งานและ การออกแบบติดตั้ง ต้องใช้ขนาดและรูปแบบที่เหมาะสมกับงาน มิฉะนั้นอุปกรณ์ดังกล่าวจะไม่ทำงานตามที่ได้ออกแบบไว้ เช่น การเลือกขนาด CB สูงเกินไป เมื่อเกิดปัญหาหรือกระแสไหลเกินพิกัดของสาย จะทำให้ อุปกรณ์ จะไม่ตัดวงจร และเกิดความเสียหายเกิดขึ้นตามมา เช่น สายไหม้ หรือ อันตรายต่อหม้อแปลงไฟฟ้า เป็นต้น

บริการของเรา ช่างไฟฟ้า/ช่างประปา-ประจำบ้าน ++++
- ช่างไฟฟ้า งานระบบไฟฟ้า แก้ไขงานไฟฟ้าขัดข้องประจำบ้าน เดินสายไฟ ติดตั้งปลั๊ก หลอดไฟ เดินไฟรั้ว ไฟสนาม ไฟรอบนอกตัวบ้าน
- ช่างซ่อมแซม/แก้ไข เบกเกอร์ทริป เซฟทีคัททริปบ่อย สายไฟชำรุด ไฟช็อต ไฟรั่ว ปลั๊กชำรุด โคมไฟชำรุด
- ช่างประปาติดตั้งท่อน้ำดี ท่อน้ำทิ้ง แก้ไขท่อชำรุด ท่อแตกใต้พื้น/ในผนัง ติดตั้งปั้มน้ำ ถังเก็บน้ำ แท็งน้ำ ติดตั้งลูกลอยไฟฟ้า ติดตั้งเครื่องทำน้ำอุ่น
- ช่างเดินสายเพิ่มจุด ย้ายจุด รับเดินสายทีวี ระบบอินเตอร์เน็ต เดินสายLAN กล้องวงจรปิด
- ช่างฝ้าเพดานรับเหมาทำฝ้าเพดาน ช่างทำฝ้า รับติดตั้งผ้า รับซ่อมฝ้า ช่างนิพล รับทำฝ้าทุกชนิด

ช่างไฟฟ้านครพนม
ช่างไฟฟ้าบึงกาฬ
ช่างไฟฟ้าสกลนคร
ช่างไฟฟ้ามุกดาหาร
ช่างไฟฟ้าอุบลราชธานี
ช่างไฟฟ้าหนองคาย
ช่างไฟฟ้าอำนาจเจริญ
ช่างไฟฟ้าหนองบัวลำภู
ช่างไฟฟ้าศรีสะเกษ
ช่างไฟฟ้าอุดรธานี
ช่างไฟฟ้ายโสธร
ช่างไฟฟ้าเลย
ช่างไฟฟ้ากาฬสินธุ์
ช่างไฟฟ้าร้อยเอ็ด
ช่างไฟฟ้ามหาสารคาม
ช่างไฟฟ้าสุรินทร์
ช่างไฟฟ้าขอนแก่น
ช่างไฟฟ้าอำนาจเจริญ
ช่างไฟฟ้าบุรีรัมย์
ช่างไฟฟ้าชัยภูมิ
ช่างไฟฟ้าโคราชนครราชสีมา
ช่างไฟฟ้าเชียงใหม่
ช่างไฟฟ้าเพชรบูรณ์
ช่างไฟฟ้า-เชียงราย
ช่างไฟฟ้าแม่ฮ่องสอน
ช่างไฟฟ้าพะเยา
ช่างไฟฟ้าลำพูน
ช่างไฟฟ้าน่าน
ช่างไฟฟ้าลำปาง
ช่างไฟฟ้าพิษณุโลก
ช่างไฟฟ้าแพร่
ช่างไฟฟ้าอุตรดิตถ์
ช่างไฟฟ้าตาก
ช่างไฟฟ้ากำแพงเพชร
ช่างไฟฟ้าพิจิตร
ช่างไฟฟ้านครสวรรค์
ช่างไฟฟ้าอุทัยธานี
ช่างไฟฟ้าชัยนาท
ช่างไฟฟ้าลพบุรี
ช่างไฟฟ้าสิงห์บุรี
ช่างไฟฟ้าสุโขทัย
ช่างไฟฟ้าปราจีนบุรี
ช่างไฟฟ้าสระบุรี
ช่างไฟฟ้านครนายก
ช่างไฟฟ้านครปฐม
ช่างไฟฟ้าอ่างทอง
ช่างไฟฟ้าราชบุรี
ช่างไฟฟ้าสุพรรณบุรี
ช่างไฟฟ้าอยุธยา
ช่างไฟฟ้าสมุทรสงคราม
ช่างไฟฟ้าสมุทรปราการ
ช่างไฟฟ้าสมุทรสาคร
ช่างไฟฟ้าสระแก้ว
ช่างไฟฟ้าตราด
ช่างไฟฟ้าจันทบุรี
ช่างไฟฟ้าระยอง
ช่างไฟฟ้าชลบุรี
ช่างไฟฟ้าฉะเชิงเทรา
ช่างไฟฟ้าเพชรบุรี
ช่างไฟฟ้าชุมพร
ช่างไฟฟ้าระนอง
ช่างไฟฟ้าสุราษฎร์ธานี
ช่างไฟฟ้านครศรีธรรมราช
ช่างไฟฟ้าพังงา
ช่างไฟฟ้ากระบี่
ช่างไฟฟ้าตรัง
ช่างไฟฟ้าพัทลุง
ช่างไฟฟ้าภูเก็ต
ช่างไฟฟ้าสงขลา
ช่างไฟฟ้าคลองตัน
ช่างไฟฟ้าจรัญสนิทวงศ์
ช่างไฟฟ้าดาวคะนอง
ช่างไฟฟ้าดินแดง
ช่างไฟฟ้าธนบุรี
ช่างไฟฟ้านวนคร
ช่างไฟฟ้านวลจันทร์
ช่างไฟฟ้าบางนา
ช่างไฟฟ้าปทุมวัน
ช่างไฟฟ้าประชาชื่น
ช่างไฟฟ้าประตูน้ำ
ช่างไฟฟ้าปิ่นเกล้า
ช่างไฟฟ้าพระราม 2
ช่างไฟฟ้าพระราม 9
ช่างไฟฟ้าเพชรเกษม
ช่างไฟฟ้ารัชดาภิเษก
ช่างไฟฟ้ารัชโยธิน
ช่างไฟฟ้ารามคำแหง
ช่างไฟฟ้าวังหิน
ช่างไฟฟ้าวัชพล
ช่างไฟฟ้าสะพานควาย
ช่างไฟฟ้าสาธุประดิษฐ์
ช่างไฟฟ้าสามเสน
ช่างไฟฟ้าสีลม
ช่างไฟฟ้าสุขาภิบาล
ช่างไฟฟ้าสุขุมวิท
ช่างไฟฟ้าสุทธิสาร
ช่างไฟฟ้าอนุเสาวรีย์ชัย
ช่างไฟฟ้าอ่อนนุช
ช่างไฟฟ้าปากเกร็ด
ช่างไฟฟ้าบางใหญ่
ช่างไฟฟ้าคลองหลวง
ช่างไฟฟ้าธัญบุรี
ช่างไฟฟ้าลาดหลุมแก้ว
ช่างไฟฟ้าลำลูกกา
ช่างไฟฟ้าสามโคก
ช่างไฟฟ้าหนองเสือ
ช่างไฟฟ้ากระทุ่มแบน
ช่างไฟฟ้าบางพลี
ช่างไฟฟ้าบางบ่อ
ช่างไฟฟ้าพระประแดง
ช่างไฟฟ้าพุทธมณฑล
ช่างไฟฟ้าสามพราน
ช่างไฟฟ้าเมืองหัวหิน
ช่างไฟฟ้าบางรัก
ช่างไฟฟ้าสาธร
ช่างไฟฟ้าเซนส์หลุยส์
ช่างไฟฟ้าสาธุประดิษฐ์
ช่างไฟฟ้าบางแค
ช่างไฟฟ้าภาษีเจริญ
ช่างไฟฟ้าปิ่นเกล้า
ช่างไฟฟ้าจรัญ
ช่างไฟฟ้าบรมราชชนนี
ช่างไฟฟ้าบางพลัด
ช่างไฟฟ้าบางอ้อ
ช่างไฟฟ้าบางกอกน้อย
ช่างไฟฟ้าบางกอกใหญ่
ช่างไฟฟ้าคลองสาน
ช่างไฟฟ้าอิสรภาพ
ช่างไฟฟ้าสาธร
ช่างไฟฟ้าสวนผัก
ช่างไฟฟ้าทุ่งมังกร
ช่างไฟฟ้าราชพฤกษ์
ช่างไฟฟ้าชัยพฤกษ์
ช่างไฟฟ้ากัลปพฤกษ์
กาญจนาภิเษก
ช่างไฟฟ้าพุทธมลฑล
ช่างไฟฟ้าพระราม 2
ช่างไฟฟ้าท่าพระ
ช่างไฟฟ้ารัชดาภิเษก
ช่างไฟฟ้าพระราม 3
ซ.วัดลาดปลาดุก
ช่างไฟฟ้าแม้นศรี
ช่างไฟฟ้าราษฎร์บูรณะ
ช่างไฟฟ้าดาวคะนอง
ช่างไฟฟ้าตลาดพลู
ช่างไฟฟ้าพญาไท
ช่างไฟฟ้าเจริญ
ช่างไฟฟ้าปทุมวัน
ช่างไฟฟ้ามาบุญครอง
ช่างไฟฟ้าสยาม
ช่างไฟฟ้าศรีย่าน
ช่างไฟฟ้าเทเวศน์
ทวีวัฒนา
ช่างไฟฟ้าบางนา
ช่างไฟฟ้าสี่แยกทศกันต์
ช่างไฟฟ้าตลิ่งชัน
ช่างไฟฟ้าสุขุมวิท
ช่างไฟฟ้าประตูน้ำ
ช่างไฟฟ้าวุฒากาศ
ช่างไฟฟ้าจอมทอง
ช่างไฟฟ้าท่าเกษตร
ช่างไฟฟ้าบางแวก
ช่างไฟฟ้าบางหว้า
ช่างไฟฟ้าวงเวียนใหญ่
ช่างไฟฟ้าลาดหญ้า
ช่างไฟฟ้าสำราญราษฎร์
ช่างไฟฟ้าเสาชิงช้า
ช่างไฟฟ้าสาธุประดิษฐ์
ช่างไฟฟ้าซ.วัดลาดปลาดุก
ช่างไฟฟ้าซ.วัดศรีประวัติ
ช่างไฟฟ้าสมเด็จเจ้าพระยา
ช่างไฟฟ้าเจริญนคร
ช่างไฟฟ้าเพชรเกษม
ช่างไฟฟ้าบางรัก
ช่างไฟฟ้ายานนาวา
ช่างไฟฟ้าเอกชัย
ช่างไฟฟ้ากำนันแม้น
ช่างไฟฟ้าเทเวศน์
ช่างไฟฟ้าเทอดไท
ช่างไฟฟ้าบางขุนเทียน
ช่างไฟฟ้าท่าข้าม
ช่างไฟฟ้าบางบอน
ช่างไฟฟ้าสุขสวัสดิ์
ช่างไฟฟ้าทุ่งครุ
ช่างไฟฟ้าประชาอุทิศ
ช่างไฟฟ้าลาพร้าว
ช่างไฟฟ้าอนุสาวรีย์ชัย
ช่างไฟฟ้าซ.อารีย์สัมพันธุ์
ช่างไฟฟ้าอ้อมน้อย
ช่างไฟฟ้าอ้อมใหญ่
ช่างไฟฟ้ามหาชัย
ช่างไฟฟ้าคลองขวาง
ช่างไฟฟ้าบางมด
ช่างไฟฟ้าหนองเเขม

Untitled Document

แชร์ข่าวนี้

1724 ครั้ง

ข่าวอื่นๆ