ใครเคยจะไปสอบกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSIเชิญในกระทู้

อัพเดตเมื่อ : 18 May 2024 15:30
หน่วยงาน : กรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
คำแนะนำในการสอบกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
กรมสอบสวนคดีพิเศษแห่งราชอาณาจักรไทย (Department of Special Investigation) หรือ ดีเอสไอ (อังกฤษ: DSI) เป็นหน่วยงานของรัฐ สังกัด กระทรวงยุติธรรม เพื่อป้องกัน ปราบปราม 
และควบคุมอาชญากรรมที่มีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ในการสอบเข้ากรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI การสอบบรรจุเข้ารับราชการผู้เข้าสอบจะต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) 
ของสำนักงาน ก.พ. ก่อน แต่ถ้าสอบเป็นพนักงานราชการไม่ต้องใช้ใบสอบผ่านภาค ก ของ ก.พ. การสอบเข้ากรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI จะมีการประเมินสมรรถนะอยู่ 2 ครั้ง คือ 
ครั้งที่ 1 โดยการสอบข้อเขียน 
ครั้งที่ 2 โดยการสัมภาษณ์ และจะต้องผ่านการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 1 โดยวิธีการสอบข้อเขียนก่อนและเมื่อผ่านการประเมินสรรถนะครั้งที่ 1 แล้ว 
จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 2 โดยวิธีสอบสัมภาษณ์ ทั้งนี้จะต้องได้คะแนนสอบข้อเขียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 
- การสอบข้อเขียน ในประกาศรับสมัคร จะระบุขอบเขตเนื้อหาที่ใช้สอบมาให้ ให้เอาขอบเขตนั้น ไปหาข้อมูลเนื้อหามาอ่านมาศึกษาและควรหาเนื้อหาให้กว้างและลึกกว่าที่ประกาศเพราะจะได้ครอบคลุมเนื้อหาที่ใช้สอบ 
นอกจากนี้อย่าลืมความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานที่ไปสอบด้วย โดยดูตามประกาศ คุณสมัครตำแหน่งไหน ก็ไปอ่านตามนั้น หลักๆ ที่ทุกตำแหน่งต้องสอบ ก็คือ โครงสร้างกับภารกิจ (น้ำหนัก 30% )
เข้าไปอ่านในเว็บไซต์ DSI ก็พอ ว่า หลักๆทำอะไรบ้าง โครงสร้างเป็นไงอ่านข่าวประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ด้วยก็ดี ถ้ามีเวลาเหลือ ก็ดูเรื่อง คดีพิเศษ ว่าคืออะไร และต่างจากคดีธรรมดายังไง (เช่น ม 21) 
เพราะคดีพิเศษเป็นอะไรที่คนมักจะนึกถึง เวลาพูดถึง DSI อีกส่วนก็ความรู้ทั่วไป การเมือง เศรษฐกิจ สังคม (น้ำหนัก 20% ) อาจจะดูข่าวย้อนหลัง 3 - 4 เดือน ก็ได้ โดยหาดูได้จากพวกนิตยสารรายสัปดาห์ อย่าง มติชนรายสัปดาห์ 
และห้องสมุดทั่วๆไปจะเก็บเล่มย้อนหลังไว้ให้อ่าน
- การสอบสัมภาษณ์ ขึ้นอยู่กับดวงด้วยว่าจะเจอกรรมการยังไง ความสามารถด้วย หลักๆก็บุคลิกภาพ ความรู้ ความมั่นใจ ความถ่อมตัว ต้องพอดีกัน 
ไม่ใช่เก่งซะจนจะเหยียบหัวกรรมการ หรือ ถ่อมตัวซะจนไม่มีอะไรดี การสอบสัมภาษณ์มีทั้งการซักถามประวัติส่วนตัว การศึกษา การทำงานไปจนถึงการทดสอบความรู้ความเข้าใจความสามารถ ในตำแหน่ง 
และยังรวมไปถึง ความสามารถในการบริหาร จัดการ งานต่างๆ เช่น การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า กรรมการอาจยกกรณีนึงมาให้ แล้วถามเราว่าจะทำยังไง ฯลฯ
เตรียม ความรู้เกี่ยวกับตำแหน่ง หน่วยงาน และ คำถาม-คำตอบ ปกติทั่วไปของการสอบสัมภาษณ์ ให้ดีๆ
ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ 
1. ให้แนะนำตัวเอง 
2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ 
3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน
 
วิชาที่ใช้สอบเป็นกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI มีดังนี้คือ
การประเมินครั้งที่ 1 โดยวิธีสอบข้อเขียน (100 คะแนน)
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ โครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงาน
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจและสังคม
- ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ
การประเมินครั้งที่ 2 โดยการสอบสัมภาษณ์ (100 คะแนน)
พิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางาน ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับตำแหน่ง การมีมนุษย์สัมพันธ์ 
ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ท่วงที วาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
1. ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง ( 200 คะแนน ) 
2. การสอบสัมภาษณ์ ( 100 คะแนน ) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่น
เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตําแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางานประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติการปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน 
สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง
ทั้งนี้ กําหนดให้ผู้สมัครสอบ ต้องสอบความรู้ความสามารถเฉพาะตําแหน่งก่อนผ่านก่อน โดยมีคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 จึงจะมีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตําแหน่ง
(1) วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ (60 คะแนน)
- กฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ 
- ความรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม สถาณการณ์ปัจจุบันทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีของประเทศไทยและต่างประแทศ
(2) วิชาความรู้ความเจ้าใจในบทบาทภารกิจหน้าที่ของหน่วยงาน (40 คะแนน)
- กฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
- วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารงานของหน่วยงาน
- วิชาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายลักษณะพยาน (100 คะแนน)
รายละเอียดวิชาที่สอบกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
1 ความรู้เกี่ยวกับ DSI
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมสอบสวนคดีพิเศษ
3 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ.2547
4 แนวข้อสอบ พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539
5 แนวข้อสอบ พรฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
6 แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
7 แนวข้อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
8 แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544
9 แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2552 แก้ไขเพิ่มเติม
10 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
11 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534
12 แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม
13 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม
 
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
เจ้าพนักงานธุรการ
เจ้าพนักงานพัสดุ
เจ้าพนักงานสื่อสาร
เจ้าหน้าที่คดีพิเศษ
นักจัดการงานทั่วไป
นักวิชาการคอมพิวเตอร์
นักวิชาการเงินและบัญชี
นักวิเทศสัมพันธ์
นายช่างไฟฟ้า

ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI  ที่นี่
แนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ กรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
– ความรู้เกี่ยวกับกรมสอบสวนคดีพิเศษ
– ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
– สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 8 พ.ศ.2553
– แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 8 พ.ศ.2553
– สรุปสาระสำคัญพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2562
– แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2562
– สรุปสาระสำคัญพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2562
– แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2562
– พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
– แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
– สรุปสาระสำคัญพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540
– แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540
– สรุปสาระสำคัญพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562
– แนวข้อสอบพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562
– สรุปสาระสำคัญระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของราชการ พ.ศ.2544 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2561
– แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของราชการ พ.ศ.2544 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2561
– ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560
– แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560
– สรุปสาระสำคัญระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560
– แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560
– ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนงาน การประสานงาน การบริหารจัดการภายในองค์การ
– ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนยุทธศาสตร์
– การจัดทำแผนงาน โครงการ
– การติดตามและประเมินผล
– การเขียนรายงานการประชุม
– ความรู้รอบตัว สถานการณ์บ้านเมืองปัจจุบัน
– เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
– ไฟล์เสียง MP3 เทคนิคการแต่งกาย และ ตัวอย่างสคริปคำตอบ การสอบสัมภาษณ์เข้างานราชการ
 
10 วิธี เตรียมตัวก่อนสอบ ให้ได้คะแนนดี
1. ทบทวนเนื้อหา
2. วางแผนการอ่านหนังสือ
3. มีความตั้งใจอย่างแท้จริง
4. พักผ่อนให้เพียงพอ
5. สร้างกำลังใจให้ตัวเอง
6. แลกเปลี่ยนความรู้กับกลุ่มเพื่อนๆที่สอบ
7.  จดโน้ตเพิ่มเติม
8. จำให้เป็นภาพ
9. ฝึกทำโจทย์
10.เพิ่มพลังด้วยอาหารบำรุงสมอง
 



แหล่งข้อมูลจาก
 https://www.sheetjula.com/
สั่งซื้อหนังสือสอบราชการที่ https://www.rtamd.co.th/

>รวบรวมจากผู้สอบติดอันดับต้นๆ เจาะข้อสอบเข้างานราชการ << 

>> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ <<
>> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ <<
>> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน <<

 

Untitled Document

แชร์ข่าวนี้

ข่าวอื่นๆ